ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา เป็นหัวข้อแรกในการทำวิทยานิพนธ์ ที่ต้องเขียนบรรยายโดยแสดงให้เห็นถึงภาพรวม ความสำคัญของเรื่อง ว่าทำไมถึงต้องการศึกษาปัญหาดังกล่าว สามารถนำข้อมูลที่เกี่ยวข้องมาแสดง ใส่สถิติของนักวิชาการหรือผู้เชี่ยวชาญได้เขียนบทความในประเด็นนั้นไว้ หรือข่าวสารที่เป็นปัจจุบัน ซึ่งได้กล่าวถึงเรื่องดังกล่าว โดยมีแหล่งอ้างอิงที่ชัดเจนนำเสนอความสำคัญของประเด็นปัญหาวิจัย เชื่อมโยงกับสถานการณ์โลก สถานการณ์ของประเด็นวิจัยปัจจุบัน ความก้าวหน้า ของวิทยาการต่างๆ เขียนเข้าสู่ประเด็นปัญหา อธิบายสภาพที่คาดหวังกับสภาพที่เป็นจริงมีการวิเคราะห์ปัญหาและสถานการณ์ของปัญหาในบริบทของผู้วิจัยองค์ความรู้ที่ผ่านมา (Previous Research) ต่อประเด็นปัญหาวิจัยคำตอบที่ผ่านมาแนวทางการหาคำตอบ วิธีการทำวิจัยหรือการทำวิทยานิพนธ์ วิธีการแก้ปัญหาที่หลากหลาย) สรุปประเด็นที่จะวิจัย และประโยชน์ที่จะเกิดขึ้นจากการทำวิจัยสำเร็จโดยไม่ต้องให้เสียงเงินให้ร้านรับจ้างทำวิจัยทุกสาขาวิชาบางเว็บที่ไม่มีคุณภาพ ไร้มาตรฐานการทำวิจัยและอาจโดนโกงอีกด้วย
การทำวิทยานิพนธ์ จำเป็นต้องตั้งคำถามการทำวิจัยหรือการทำวิทยานิพนธ์ ให้สอดคล้องกับการตั้งชื่อเรื่อง เป็นคำถามของการทำวิจัยหรือการทำวิทยานิพนธ์เป็นสิ่งสำคัญ ที่ผู้วิจัยต้องกำหนดขึ้นและให้นิยามปัญหานั้นอย่างชัดเจนเพราะปัญหาที่ชัดเจนจะช่วยให้ผู้วิจัยกำหนดวัตถุประสงค์ตั้งสมมติฐาน ให้นิยามตัวแปรที่สำคัญๆ ตลอดจนการวัดตัวแปรเหล่านั้นได้ถ้าผู้วิจัยตั้งคำถามที่ไม่ชัดเจนสะท้อนให้เห็นว่าแม้แต่ตัวก็ยังไม่แน่ใจว่าจะศึกษาอะไร ทำให้การวางแผนในขั้นต่อไปเกิดความสับสนได้คำถามของการทำวิจัย หรือการทำวิทยานิพนธ์ต้องเหมาะสม (relevant) หรือสัมพันธ์กับเรื่องที่จะศึกษา โดยควรมีคำถามที่สำคัญที่สุดซึ่งผู้วิจัยต้องการคำตอบมากที่สุด เพื่อคำถามเดียวเรียกว่าคำถามหลัก (primary research question) ซึ่งคำถามหลักนี้จะนำมาใช้เป็นข้อมูลในการคำนวณขนาดของตัวอย่าง (sample size) แต่ผู้วิจัยอาจกำหนดให้มีคำถามรอง (secondary research question) ซึ่งคำถามของการทำวิจัยหรือการทำวิทยานิพนธ์ มีลักษณะหน้าที่เป็นข้อความที่เป็นประโยคคำถาม ซึ่งแสดงให้เห็นถึงสิ่งที่ผู้วิจัยต้องการค้นคว้า ต้องการหาคำตอบ ทั้งนี้คำถามการทำวิจัยหรือการทำวิทยานิพนธ์ควรเป็นคำถามที่ยังไม่มีคำตอบ หรือไม่สามารถหาคำตอบได้จากตำราหรือความรู้เดิมที่มีอยู่ก่อนแล้วต้อง เป็นสิ่งที่ค้นพบใหม่หรือนวัตกรรมที่เป็นประโยชน์จากการศึกษาว่าการวิจัยของเราคืออะไร
วัตถุประสงค์ของการทำวิจัยหรือการทำวิทยานิพนธ์ มีความสำคัญต่อการทำวิทยานิพนธ์ ซึ่งต้องเขียนประเด็นของปัญหาให้ชัดเจนว่าต้องการศึกษาอะไร ในแง่มุมใด และเรื่องที่ศึกษาต้องอยู่ในกรอบของหัวเรื่องที่รองรับทำวิทยานิพนธ์ วัตถุประสงค์ที่เขียนต้องสามารถศึกษาได้ กระทำได้ หรือเก็บข้อมูลได้ทั้งหมดต้องเขียนวัตถุประสงค์ในลักษณะที่สั้น กะทัดรัด ใช้ภาษาที่ง่ายวัตถุประสงค์สามารถเขียนในรูปประโยคบอกเล่า หรือประโยคคำถามก็ได้วัตถุประสงค์สามารถเขียนในรูปของการเปรียบเทียบ เพื่อเน้นความแตกต่าง หรือเขียนในรูปของความสัมพันธ์วัตถุประสงค์สามารถเขียนรวมเป็นข้อเดียว หรืออาจเขียนแยกเป็นข้อๆ ก็ได้จำนวนวัตถุประสงค์มากน้อยแค่ไหนขึ้นอยู่กับของเขตของในการรอง รับทำวิจัย ว่าต้องการศึกษาแค่ไหนการเรียงหัวข้อวัตถุประสงค์ สามารถเรียงได้หลายลักษณะ เรียงตามความสำคัญของประเด็นปัญหาวิจัยลดหลั่นลงมา หรืออาจเรียงตามลักษณะระดับปัญหาใหญ่และปัญหารองลงมา
อาจเรียงวัตถุประสงค์ตามความสอดคล้องของเนื้อหา หรืออาจเรียงวัตถุประสงค์ตามลำดับการเกิดก่อน เกิดหลังของแต่ละปัญหาได้อย่านำประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับมาเขียนไว้ในวัตถุประสงค์การทำวิจัยหรือการทำวิทยานิพนธ์ เพราะวัตถุประสงค์การทำวิจัยหรือการทำวิทยานิพนธ์เป็นเรื่องที่ต้องทำ แต่ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับเป็นผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นหลังจากสิ้นสุดการทำวิจัยหรือการทำวิทยานิพนธ์แล้ว ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับไม่ได้เป็นเรื่องบังคับให้ผู้วิจัยต้องทำเหมือนวัตถุประสงค์ และเมื่อทำวิจัยเสร็จแล้วผลที่คาดหวังไว้อาจจะเป็นไปตามที่คาดหรือไม่ก็ได้ ตัวอย่างการเขียนวัตถุประสงค์คือ 1. เพื่อศึกษา….ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 2. เพื่อทราบ…เพราะการศึกษาเรื่องใดก็ย่อมจะทราบเรื่องนั้นอยู่แล้ว ควรเขียนในทำนองว่าเมื่อทราบผลแล้วจะนำผลไปใช้ประโยชน์อะไร และ 3. เพื่อเปรียบเทียบ ปัจจัยตัวแปรหรือระหว่างกลุ่มตัวอย่าง และศึกษาความสัมพันธ์และอิทธิพลระหว่างตัวแปร ซึ่งหากท่านเลือกร้านรับทำวิจัยที่ส่วนใหญ่ยังไม่เข้าใจหรือเขียนวัตถุประสงค์ไม่ตรงกับสิ่งที่ต้องการศึกษาสุดท้ายท่านก็จะได้รับผลกระทบเชิงลบ หรือปัญหาการทำวิทยานิพนธ์อย่างแน่นอน
สำหรับหัวข้อการตั้งสมมติฐานของการทำวิจัยหรือการทำวิทยานิพนธ์ ซึ่ง ในการตั้งสมมติฐานการทำวิจัยหรือการทำวิทยานิพนธ์อาจจะเป็นเรื่องยุ่งยากสำหรับผู้ที่เริ่มทำวิจัยหรือร้านรับทำวิทยานิพนธ์ที่ไม่มีคุณภาพ เพราะไม่รู้ว่าสมมติฐานที่ตั้งเหมาะสมกับปัญหาการทำวิจัยหรือการทำวิทยานิพนธ์ และมีความชัดเจนหรือไม่ จึงมีข้อเสนอที่เป็นเกณฑ์ในการพิจารณาการตั้งสมมติฐานการทำวิจัยหรือการทำวิทยานิพนธ์เป็นการคาดคะเนคำตอบสรุปผลของการทำวิจัยหรือการทำวิทยานิพนธ์ที่คาดการณ์ไว้ล่วงหน้าอย่างมีเหตุมีผล ซึ่งพวกรับทำวิจัยบางแห่งยังไม่รู้เลยว่าเราทดสอบสมมติฐานไปเพื่ออะไร สมมติฐานมีจุดมุ่งหมายทดสอบความสัมพันธ์ของตัวแปร ที่เกี่ยวข้องอย่างน้อย 2 ตัวขึ้นไป เพื่อพิสูจน์และหาคำตอบประเด็นปัญหาของการทำวิจัยหรือการทำวิทยานิพนธ์ที่กำหนดไว้อย่างมีเหตุและผล ซึ่งเป็นข้อสันนิษฐานที่มีเหตุผลโดยคาดการณ์ว่าผลการทดสอบสมมติฐานอาจจะเป็นจริงหรืออาจจะไม่เป็นจริงก็ได้ อีกทั้งยังช่วยกำหนดทิศทางการค้นหาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร หรือตั้งสมติฐานจากกรอบการทำวิจัยหรือการทำวิทยานิพนธ์ก็ได้ และจากประสบการณ์ที่ผ่านมาพบว่าเว็บรับทำ Thesis หลายแห่งขาดองค์ความรู้จึงทำได้เพียงลอกสมมติฐานจากเล่มอื่น ส่งผลให้ทิศทางของงานผิดไปจากวัตถุประสงค์ของการทำวิจัยหรือการทำวิทยานิพนธ์
โดยจะต้องคำนึงถึงหลักวิชาการที่ถูกต้อง ได้แก่ ประการแรก การทดสอบสมมติฐานที่ตั้งขึ้นต้องสามารถทดสอบได้ภายในเวลาที่เหมาะสม ประการที่สอง ความเกี่ยวข้องกับปัญหาสมมติฐานที่ตั้งขึ้นจะต้องมีความเกี่ยวข้องและมีความเป็นไปได้กับปัญหาและวัตถุประสงค์ที่ทำวิจัย ซึ่งเว็บรับทำวิจัย ป.โท ส่วนใหญ่จะตั้งสมมติฐานไม่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ ส่วนประการที่สาม การศึกษาตัวแปรหลายตัว การตั้งสมมติฐานควรแสดงความสัมพันธ์หรือความสัมพันธ์เชิงสาเหตุ ระหว่างตัวแปรมีการเปรียบเทียบระหว่างกลุ่ม จะทำให้ได้ผลการทำวิจัยหรือการทำวิทยานิพนธ์ที่เป็นประโยชน์ครอบคลุมมากขึ้น แต่จะเกิดปัญหาการใช้สถิติผิดกับเว็บรับทำวิจัยราคาถูก เนื่องจากขาดความรู้ และประการสุดท้ายการตั้งสมมติฐานควรมีเหตุผลเพียงพอและเป็นไปตามหลักเหตุผล โดยใช้แนวคิดทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องมาสนับสนุนให้น่าเชื่อถือมากขึ้น และแน่นอนเว็บรับทำ thesis ส่วนใหญ่ลอกมาโดยไม่ดูให้สอดคล้องตามวัตถุ โดยมีหลักการเขียนสมมติฐานการทำวิจัยหรือการทำวิทยานิพนธ์ ได้แก่ ควรเขียนสมมติฐานหลังจากที่ได้ศึกษาหนังสือ ตำรา เอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องแล้ว เพื่อนำมาเป็นข้อมูลสนับสนุนการตั้งสมมติฐาน
สำหรับการตั้งสมมติฐานการทำวิจัยหรือการทำวิทยานิพนธ์ ควรมีคำที่แสดงความหมายถึงความคาดหวังในรูปของประโยคเชิงบอกเล่า สมมติฐานที่เขียนขึ้นอาจมีทิศทางหรือไม่มีทิศทางก็ได้ขึ้นอยู่กับการทบทวนเอกสารและรูปแบบการทำวิจัยหรือการทำวิทยานิพนธ์ และควรเขียนสมมติฐานไว้หลายๆ สมมติฐาน โดยพิจารณากลุ่มย่อยตามรายละเอียดของตัวแปรกรอบแนวคิดที่ศึกษาตัวอย่างการตั้งสมมุติฐานเกี่ยวกับข้อมูลทั่วไปหรือลักษณะประชากรศาสตร์ที่แตกต่างกัน (อยู่กรอบซ้าย ตัวแปรต้น) มีการตัดสินใจ/พึงพอใจ/ประสิทธิภาพแตกต่างกันหรือตัวแปรอะไรก็ตามแต่ที่เป็น (ตัวแปรตาม) เพื่อหาความแตกต่าง ความสัมพันธ์หรืออิทธิพลที่มีต่อกัน เช่นเดียวกันมีตัวแปรไหนอยู่กรอบซ้ายหรือตัวแปรต้น เราก็ใช้หลักการเดียวกัน ตัวอย่าง เช่น 4p’s จะตั้งว่า ส่วนประสมทางการตลาดบริการ (ตรงนี้จะหาความสัมพันธ์หรืออิทธิพลที่ส่งผล) มีอิทธิพล ส่งผลต่อตัวแปรตามอะไรก็ว่าไป เช่น การตัดสินใจ/พึงพอใจ/ประสิทธิภาพ สมมติฐานจึงเป็นสิ่งสำคัญในการทำวิจัย ดังนั้นการเลือกเว็บรับทำวิจัย ไม่ว่าจะรับทำ is, รับทำวิทยานิพนธ์ หรือรับทำดุษฎีนิพนธ์ก็ตาม ควรพิจารณาเว็บรับทำวิจัยที่มีประสบการณ์และองค์ความรู้จริง มิเช่นนั้นท่านอาจต้องเสียสตางค์แพงๆ และได้งานผิดมาแก้ใหม่ทั้งเล่ม เสียเงินไม่จบไม่สิ้นแน่นอน ดังนั้นอย่าลืม Thesis DD ที่มีบริการรับทำวิจัยครบวงจร รวมถึงรับทำแผนธุรกิจ บทความ และงานเขียนวิชาการทุกประเภท
ด้านขอบเขตการทำวิจัยหรือการทำวิทยานิพนธ์ ประกอบด้วย ขอบเขตด้านประชากร (Populations) ประชากรเป้าหมายหรือผู้ให้ข้อมูลหลัก หมายถึง บุคคลที่มีคุณสมบัติสำคัญที่ถูกกำหนดให้เป็นผู้ให้ข้อมูล โดยมากจะใช้ในงานวิจัยเชิงคุณภาพที่ต้องการผู้ให้ข้อมูลหลักสำคัญ โดยบุคคลนี้มักจะเป็นผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องสูงกับประเด็นข้อมูลที่นักวิจัยต้องการทราบ ขอบเขตด้านตัวแปรของงานวิจัย (Variables) ตัวแปรต้น (Independent Variables) ตัวแปรตาม (Dependent Variables) อาณาเขตบริเวณเรื่องเนื้อหาสาระทางวิชาการ ในตำราเรียนของศาสตร์ใดใด ขอบเขตด้านพื้นที่วิจัย.. การกำหนดอาณาเขตบริเวณตามลักษณะภูมิภาค ได้แก่ ชุมชน หมู่บ้าน ตำบล อำเภอ จังหวัด กลุ่มจังหวัด ภาค ประเทศ ภูมิภาค ทวีป กลุ่มประเทศ โลก จักรวาล ฯลฯ เพื่อจะสื่อให้ทราบว่าสิ่งต่างๆในกระบวนการทำวิจัย หรือการทำวิทยานิพนธ์ตลอดจนถึงผลการทำวิจัย การทำวิทยานิพนธ์หมายถึงเฉพาะในพื้นที่นั้นนั้นนะ ไม่ได้หมายถึงพื้นที่อื่น ซึ่งในพื้นที่อื่นอาจจะมีความหมายหรือผลการทำวิจัยหรือการทำวิทยานิพนธ์เป็นอย่างอื่นก็ได้ งานวิจัยจึงต้องมีการกำหนดขอบเขตด้านพื้นที่การทำวิจัยหรือการทำวิทยานิพนธ์เอาไว้ให้ชัดเจน และขอบเขตด้านระยะเวลา การระบุช่วงระยะเวลาของการดำเนินการทำวิจัยหรือการทำวิทยานิพนธ์ซึ่งจะสื่อให้ทราบว่า คำตอบหรือผลการทำวิจัยหรือการทำวิทยานิพนธ์ที่ปรากฏในงานวิจัยเรื่องนั้นหมายถึงคำตอบเฉพาะห้วงเวลาที่กำหนดไว้เท่านั้น โดยหากห้วงเวลาเปลี่ยนแปลงไปคำตอบอาจจะเปลี่ยนแปลงไปก็ได้ นอกจากนั้นการกำหนดห้วงเวลาจึงมักจะหมายถึงห้วงเวลาที่นักวิจัยลงพื้นที่เก็บรวบรวมข้อมูลเพราะคำตอบของแหล่งมูลวิจัยถูกถ่ายทอดให้นักวิจัยในห้วงเวลานั้นๆ ไม่ได้หมายถึงห้วงเวลาตั้งแต่เขียนเค้าโครงวิจัยจนถึงเขียนรายงานการทำวิจัย หรือการทำวิทยานิพนธ์แนวทางการเขียนก่อนที่จะทำความเข้าใจการกำหนดขอบเขตการทำวิจัย หรือการทำวิทยานิพนธ์ จำเป็นต้องพิจารณาว่าวงรอบของการทำวิจัย หรือการทำวิทยานิพนธ์ที่นักวิจัยกำลังจะดำเนินการมีกี่ระยะ เช่น (1) ระยะการสำรวจ (2) ระยะการสร้างวิธีการพัฒนา (3) ระยะปฏิบัติการพัฒนาและติดตามผลและ (4) ระยะการประเมินผล
นิยามศัพท์เฉพาะที่ใช้ในการทำวิจัยหรือการเขียนวิทยานิพนธ์ หรือนิยามศัพท์ หมายถึงการให้ความหมายคำเฉพาะที่ใช้ในการทำวิจัยหรือการทำวิทยานิพนธ์ เพื่อให้ผู้วิจัยและเข้าใจความหมายคำตรงกัน คำนิยามต้องคำนึงถึงการนิยามตัวแปร เพราะจะช่วยให้การเก็บข้อมูลได้ถูกต้องและน่าเชื่อถือ นิยามศัพท์มี 2 ประเภท คือนิยามเชิงความหมายเป็นนิยามศัพท์นั้น ๆ โดยอธิบายความหมายและนิยามเชิงปฏิบัติการเป็นการให้ความหมายของคำ โดยกำหนดพฤติกรรมบ่งชี้หรือเครื่องมือชี้วัดบางอย่าง เช่น สติปัญญา หมายถึง ความจำทางสมองที่จะคิดให้เหตุผลและแก้ปัญหาต่าง ๆ นิยามเชิงความหมาย และสติปัญญาซึ่งคะแนนที่ได้จากการวัดด้วยแบบทดสอบมาตรฐานสำหรับวัดสติปัญญา นิยามเชิงปฏิบัติ ในการให้คำนิยามนั้นควรให้ทั้งนิยามความหมายและนิยามปฏิบัติการผสมผสานกันไปในทางเดียวกันหลักการเขียนนิยามคำศัพท์ คือ ต้องเป็นคำศัพท์เฉพาะ ไม่ต้องให้คำนิยามศัพท์ทุกคำศัพท์ที่ผู้วิจัยต้องการให้ผู้อ่านเข้าใจตรงกัน และถ้าทีการอ้างอิงแหล่งที่มาด้วย ก็จะทำให้มีความน่าเชื่อถือมากยิ่งขึ้น หลักการเขียนนิยามศัพท์เฉพาะ การให้นิยามศัพท์เฉพาะเป็นการให้ความหมายของคำที่มีความสำคัญในการทำวิจัยหรือการทำวิทยานิพนธ์เรื่องนั้น
โดยเฉพาะอย่างยิ่งคำที่เป็นตัวแปรตามที่เป็นนามธรรม เช่น ตัวแปร แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ เชาว์ปัญญาทางอารมณ์ ความพึงพอใจในการบริการ เจตคติต่อสินค้า เป็นต้น ซึ่งจะต้องนิยามโดยอาศัยทฤษฎี หลักการ แนวคิดจากผู้รู้ ตลอดจนงานวิจัยที่เกี่ยวข้องซึ่งจะต้องนิยามให้อยู่ในรูปของนิยามปฏิบัติการ จึงจะสามารถสร้างเครื่องมือวิจัยที่มีคุณภาพด้านความเที่ยงตรงนิยามปฏิบัติการ (Operational Definition) เรียกสั้น ๆ ว่า O.D. คือ การให้ความหมายตัวแปรที่สำคัญ โดยเฉพาะตัวแปรตาม (Dependent Variable) ที่ต้องการศึกษา หรือตัวแปรอิสระที่มีลักษณะเป็นนามธรรม ซึ่งจะต้องนิยามให้เป็นคุณลักษณะพฤติกรรม และหรือกิจกรรมที่จะศึกษา ให้อยู่ในรูปที่วัดได้ สังเกตได้ ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อการสร้างเครื่องมือวิจัยให้มีความเที่ยงตรง (Validity) ซึ่งปัญหาเว็บรับทำวิจัยมักจะไม่รู้ว่านิยามศัพท์คืออะไรต้องเขียนอย่างไรถึงจะชัดเจน เพราะโดยส่วนใหญ่เว็บรับทำวิจัยเหล่านี้มักไปลอกมาจากแนวคิดทฤษฏีทั้งหมด และแยกไม่ได้ระหว่างนิยามศัพท์เฉพาะกับนิยามปฏิบัติการ1.7 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ (Expected Outcome) การทำวิจัยทุกเรื่อง ผู้ทำวิจัยจะต้องทราบว่าเมื่อทำเสร็จแล้วผลการทำวิจัยหรือการทำวิทยานิพนธ์จะก่อให้เกิดประโยชน์อย่างไร ประโยชน์ของการทำวิจัยหรือการทำวิทยานิพนธ์มีได้หลายลักษณะ เช่น การนำผลการทำวิจัยหรือการทำวิทยานิพนธ์ไปใช้ในการกำหนดนโยบาย ปรับปรุงการปฏิบัติงาน ใช้เป็นแนวทางการตัดสินใจ ใช้ในการแก้ปัญหา หรือทำวิจัยต่อไป เป็นต้น
ด้านสุดท้าย คือประโยชน์จึงเป็นการอธิบายถึงประโยชน์ของงานวิจัยนี้ โดยอาศัยความสำคัญของเรื่อง ควรพยายามให้เห็นประโยชน์ต่อวงวิชาการ ประชากร ฯลฯ ดังนั้นการเขียนประโยชน์ของงานวิจัยควรเขียนเป็นข้อ ๆ เพื่อระบุถึงประโยชน์ที่จะเกิดขึ้น ซึ่งสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่วางไว้ จะต้องเขียนด้วยภาษาที่อ่านง่ายและพยายามโน้มน้าวให้ผู้อ่านเห็นประโยชน์ของงานวิจัยให้มากที่สุด ซึ่งมีแนวทางการเขียนประโยชน์ที่คาดว่าจะได้ ซึ่งควรเขียนประโยชน์ที่ได้รับโดยตรงมากที่สุด ไปหาประโยชน์น้อยที่สุดจากการทำวิจัยหรือการทำวิทยานิพนธ์ ไม่ขยายความเกินความเป็นจริง ต้องอยู่ในขอบเขตของวัตถุประสงค์ที่ศึกษาเท่านั้น ควรเขียนให้ครอบคลุมทั้งผลในระยะสั้นและระยะยาว ทั้งผลทางตรงและทางอ้อม ควรระบุในรายละเอียดว่าผลการศึกษาใครจะได้ประโยชน์ ได้ยังไง และควรเขียนในลักษณะที่ล้อจากวัตถุประสงค์หรือไม่ก็ได้ปัญหาที่พบและเกิดขึ้นจากที่ผู้เขียนพบบ่อยคือ ร้านรับทำวิจัยโดยส่วนใหญ่ขาดองค์ความรู้อย่างแท้จริง รู้บ้างไม่รู้บ้าง ขาดทักษะแตกต่างจากอาจารย์ที่จบการศึกษาระดับปริญญาเอก ที่มีทั้งความรู้และประสบการณ์ ดังนั้นควรเลือกเว็บรับทำวิจัยที่มีความรู้และสามารถให้ท่านพึ่งพาได้หากเกิดปัญหาติดขัดในการทำวิจัยหรือการทำวิทยานิพนธ์ซึ่งต้องมีแน่นอน