1. แผนดีมีหวัง

โครงร่างงานวิจัย หรือข้อเสนอโครงการทำวิทยานิพนธ์ ป.เอกหรือทำวิจัย  (Research proposal) เป็นรายละเอียดเกี่ยวกับการทำวิจัย ตั้งแต่ต้นจนจบ ที่ถูกต้องและเชื่อถือได้มากที่สุดมีประโยชน์ที่จะทำให้ได้แนวดำเนินการวิจัยไปสู่เป้าหมาย ทำให้ผู้ทำวิจัยหรือทำวิทยานิพนธ์ ป.เอกสามารถเตรียมการป้องกันปัญหาด้านต่าง ๆ ที่อาจเกิดขึ้น เช่น การประเมินค่าใช้จ่าย  เวลา  บุคลากร ช่วยให้ผู้ทำวิจัยหรือทำวิทยานิพนธ์ ป.เอก สามารถติดตามควบคุมและประเมินผลการดำเนินงานการทำวิจัยได้อย่างถูกต้อง

2. กระบวนการดี

ซึ่งเป็นเอกสารที่จะสื่อสารระหว่างผู้ร่วมทำวิจัยเพื่อให้เข้าใจในหลักการเดียวกัน และสามารถปฏิบัติตามได้ถูกต้อง ดังนั้นเนื้อหาของการเขียนโครงร่างงานวิจัยจึงต้องน่าสนใจ สามารถชักจูงให้ผู้อ่านโดยเฉพาะกรรมการ โดยพรรณนานำเสนอถึงวัตถุประสงค์การทำวิจัยหรือทำดุษฎีนิพนธ์รูปแบบ ระเบียบวิธีวิจัย สถิติที่ใช้ และที่สำคัญคือรายละเอียดและขั้นตอนการทำงานวิจัย และเน้นการให้รายละเอียด เกณฑ์วิธีการทำวิจัยเป็นเอกสารที่ต้องทำเพื่อให้ผู้ร่วมวิจัยทราบว่าต้องทำอะไรบ้างแม้ว่าจะไม่ได้ใช้เพื่อการขอทุนสนับสนุน หากอาจจะต้องส่งให้กรรมการเพื่อให้ผ่านการพิจารณาจริยธรรมเพื่อการทำวิจัยในมนุษย์ก่อนการทำวิจัย

3. กลยุทธ์ดี

กุญแจสู่ความสำเร็จในการเขียนโครงร่างวิจัยที่ดี (Key to success to writing a goodproposal) คุณภาพโดยรวมของงานวิจัย ประกอบด้วย คำถามวิจัยดี รูปแบบการศึกษาเหมาะสม วิธีการเข้มแข็งและมีความเป็นไปได้ ทีมวิจัยมีคุณภาพและคำถามวิจัยเข้าได้กับวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลการทำวิจัยหรือทำวิทยานิพนธ์ ป.เอกและการวิเคราะห์ข้อมูลการทำวิจัยหรือทำวิทยานิพนธ์ ป.เอก อันจะนำไปสู่คุณภาพของโครงร่างงานวิจัย ชื่อเรื่องดีให้ข้อมูลการทำวิจัยหรือทำวิทยานิพนธ์ ป.เอกครบถ้วน

4. ส่วนประกอบดี

บทคัดย่อครบถ้วนและจูงใจ คำถามงานวิจัยชัดเจน ที่มาและความสำคัญของปัญหาเป็นวิชาการและมีความเกี่ยวข้อง งานวิจัยที่ใช้ในการทบทวนวรรณกรรมมีความเกี่ยวข้อง ประชากรและกลุ่มตัวอย่างมีความเหมาะสม วิธีการวัดวิธีและการให้สิ่งทดลองเหมาะสม การควบคุมคุณภาพวิทยานิพนธ์ ป.เอก จำนวนตัวอย่างเพียงพอ การวางแผนการวิเคราะห์ดี ประเด็นจริยธรรมครบถ้วน งบประมาณเหมาะสม ประหยัดเวลาเวลาในการทำวิจัย และคุณภาพของการนำเสนอผลงานวิจัย ชัดเจน กระชับ เรียงลำดับดี ตารางมีเนื้อหาและหัวข้อที่ทำให้เข้าใจ แผนผังและตารางเหมาะสม และประณีตและปราศจากข้อผิดพลาด         

5. วิธีวิจัยที่ดี

ผู้ทำวิจัยหรือทำวิทยานิพนธ์ ป.เอกควรรู้ระเบียบวิธีวิจัย และรายละเอียดของโครงการทำวิทยานิพนธ์ ป.เอกทั้งหมดเพื่อประเมินความสามารถของตัวเองในการทำวิทยานิพนธ์ ป.เอก การวางแผนการดำเนินงานการทำวิทยานิพนธ์ ป.เอกและการเลือกวิธีวิจัยให้สอดคล้องเหมาะสมกับวัตถุประสงค์การวิจัย ในการหาข้อมูลการทำวิจัยหรือทำวิทยานิพนธ์ ป.เอก การใช้ทรัพยากร งบประมาณ และบุคลากร จึงจำเป็นต้องมีการวางแผนเพื่อเตรียมพร้อมตามหลักการสำคัญอย่างเหมาะสม (Appropriateness) ของเรื่องที่จะทำวิทยานิพนธ์ ป.เอก มีความสอดคล้องกับสถานการณ์ (Relevancy) เป็นปัจจุบัน ทันเหตุการณ์ มีโอกาสและความสำเร็จของงานวิจัยในอนาคต (The chance of success)  โดยการกำหนดกิจกรรม (activities) ต่าง ๆ เพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ที่ตั้งเอาไว้ ตั้งแต่ขั้นเตรียมการในการติดต่อเพื่อขออนุมัติดำเนินการ การคัดเลือกผู้ช่วยผู้ทำวิจัยหรือทำวิทยานิพนธ์ ป.เอก การเตรียมเครื่องมือ การอบรมผู้ช่วยผู้ทำวิจัยหรือทำวิทยานิพนธ์ ป.เอก การทดสอบเครื่องมือในการสำรวจ การแก้ไขเครื่องมือในการสำรวจ และขั้นปฏิบัติงาน เช่น การวิเคราะห์ข้อมูลการทำวิจัยหรือทำวิทยานิพนธ์ ป.เอก การเขียนรายงานของแต่ละกิจกรรม รวมทั้งเวลาที่ใช้ ในแต่ละขั้นตอน ทรัพยากรมีอยู่แล้ว มีอะไรบ้าง

6. ดำเนินการดี ๆ

การดำเนินงานการทำวิจัย (Implementation) ต้องตัดสินใจ เกี่ยวกับการบริหารงานบุคคล การจัดสรรงบประมาณ และการรวบรวมข้อมูลการทำวิจัยหรือทำวิทยานิพนธ์ ป.เอก จึงจำเป็นต้องดำเนินการวางแผนกิจกรรมต่าง ๆ เกี่ยวกับการจัดองค์กร การกำหนดหน้าที่ของผู้ร่วมทำวิจัยแต่ละคนให้ชัดเจน การประสานงาน การสรรหาและการพัฒนาบุคคลากร การสั่งงาน การมอบหมายงาน การควบคุมซึ่งนับว่ามีความสำคัญอย่างยิ่ง สำหรับการดำเนินงานการทำวิจัย เพื่อใช้ในการสั่งการและควบคุมทีมงานทำวิจัย กำหนดขอบเขตหน้าที่ ตลอดจนติดตามประเมินผล ให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ในรูปแบบ flow chart หรือ Gantt’s chart  ในเชิงประโยชน์ หรือผลกระทบของผลลัพธ์ของงานวิจัย (Impact of the research outcome) ผู้ทำวิจัยต้องมีความสามารถในการการบริหารงานวิจัยให้สำเร็จลุล่วงไปด้วยดีตามเป้าหมายซึ่งต้องผ่านกระบวนการวิเคราะห์ปัญหา และกำหนดวัตถุประสงค์การทำวิจัยหรือทำวิทยานิพนธ์ ป.เอก การควบคุมโครงการทำวิทยานิพนธ์ ป.เอก สามารถทำเป็นตารางปฏิบัติงาน (time schedule) ซึ่งเป็น ตารางกำหนดระยะเวลาการทำวิทยานิพนธ์ ป.เอกหรือทำดุษฎีนิพนธ์ในการปฏิบัติงาน ของแต่ละกิจกรรม เพื่อช่วยให้การควบคุมมีประสิทธิภาพ และทำเสร็จทันเวลา

            [TD1] 


 [TD1]ใช้แล้ว tdd