Defense VS QE
การสอบเค้าโครงวิจัย (Defense Thesis) หรือสอบ QE เป็นช่วงเวลาที่ผู้ทำวิทยานิพนธ์ต้องเตรียมความพร้อมเพื่อสอบเค้าโครงวิจัยและการสอบปากเปล่าวิจัย (Oral Thesis) หรือสอบ QE หลายท่านอาจให้ความเห็นว่าขั้นตอนนี้เป็นกระบวนการที่ยากกว่าขั้นตอนอื่นเพราะเป็นการนำเสนอผลงานวิจัยของผู้ทำวิทยานิพนธ์ ซึ่งจะหลายท่านบอกว่านี่คือการตัดสินว่า ผ่านหรือไม่?
“ผู้วิจัยเป็นผู้รู้ที่สุด” ซึ่งถ้า ผู้ทำวิทยานิพนธ์ หรือผู้รับทำวิจัยทำด้วยตนเอง ก็ไม่น่าจะมีอะไรหนักใจเท่าไร เพราะการสอบเค้าโครงวิจัย (Defense Thesis) หรือสอบ QE และการสอบปากเปล่าวิจัย (Oral Thesis) หรือสอบ QE เหมือนกับการทบทวนสิ่งที่ผู้ทำวิทยานิพนธ์ หรือผู้รับทำวิจัยได้เขียนและลงมือ ทำด้วยตนเอง วันนี้เรามี 6 เทคนิค เตรียมสอบเค้าโครงวิทยานิพนธ์ (Defense Thesis) หรือสอบ QE
1. วิพากษณ์
ผู้รับทำวิจัยต้องเตรียมใจในการแก้ไขงานอีกครั้ง โดยยึดคำวิพากษ์และข้อเสนอแนะของคณะกรรมการสอบเค้าโครงวิจัย (Defense Thesis) หรือสอบ QE ถ้าผู้ทำวิทยานิพนธ์หรือผู้รับทำวิจัยเข้าใจเอาใจใส่มาตลอด ก็ไม่มีอะไรน่าหนักใจ แต่ไม่ได้หมายความว่าเค้าโครงวิจัยที่ส่งในครั้งนี้เป็นเล่มเค้าโครงวิจัยที่สมบูรณ์เลยจะต้องปรับแก้อีกครั้ง
2. มาก่อน
ผู้รับทำวิจัยควรมาถึงห้องสอบล่วงหน้า หรือผู้รับทำวิจัยควรมาถึงห้องสอบล่วงหน้าอย่างน้อย 30 นาที และตรวจดูความเรียบร้อย เช่น เครื่องดื่มหรืออาหารว่างมีหรือไม่ดูสภาพห้องสอบว่าที่นั่งของตนและที่นั่งของคณะกรรมการอยู่ตรงไหน ผู้ทำวิทยานิพนธ์ หรือผู้รับทำวิจัยควรใช้เวลาช่วงนี้ติดตั้งอุปกรณ์ประกอบการนำเสนอข้อมูล
3. note
ผู้รับทำวิจัยควรทำสรุปสาระสำคัญลงในกระดาษแผ่นเดียว หรือผู้รับทำวิจัยควรทำสรุปสาระสำคัญ ลงในกระดาษแผ่นเดียว ให้ครอบคลุมสาระสำคัญของการวิจัยทั้งหมด อาจใช้แผนผังความคิด (Mind Mapping) หรือสอบ QE หรือผังมโนทัศน์ (Concept Map) หรือสอบ QE ส่วนนี้จะเป็นประโยชน์ช่วยให้เข้าใจเรื่องที่วิจัยอย่างชัดเจนก่อนขึ้นสอบปกป้องเค้าโครงวิจัย ผู้ทำวิทยานิพนธ์สามารถนำไปดูแล้วอธิบายการวิจัยได้อย่างกระชับและครบถ้วน โดยไม่ต้องเปิดอ่านในเล่มเค้าโครงวิจัย
4. ตรวจก่อน
ผู้ทำวิทยานิพนธ์หรือผู้รับทำวิจัยควรมีการตรวจสอบประเด็นสำคัญทุกข้ออย่างละเอียดผู้ทำวิทยานิพนธ์ หรือผู้รับทำวิจัยควรมีการตรวจสอบประเด็นสำคัญทุกข้ออย่างละเอียด ชัดเจน รอบคอบ รัดกุมในทุกส่วน เช่น ภูมิหลัง ความเป็นมาของการวิจัย ความมุ่งหมาย สมมติฐาน ขอบเขต นิยามศัพท์เฉพาะ แนวคิด ทฤษฎี และผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง วิธีดำเนินการวิจัย ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ซึ่งจะเป็นประโยชน์มาก เพราะเค้าโครงดังกล่าวเป็นเงื่อนไขที่จะต้องปฏิบัติตาม เป็นการป้องกันปัญหาต่าง ๆ ที่จะตามมา
5. ลงนวม
ผู้ทำวิทยานิพนธ์หรือผู้รับทำวิจัยควรซักซ้อมด้วยตนเองให้คล่อง เพราะหรือผู้รับทำวิจัยส่วนใหญ่เตรียมตัวมายังไม่ดีพอ เค้าโครงวิจัยมีความบกพร่องหลายแห่ง หากนำ เสนอไม่น่าสนใจ เช่นใช้วิธีการอ่านเอกสารมากเกินไป หรือการตอบคำถามบางครั้งไม่ตรงประเด็นหรือตอบไม่ได้ โดยเฉพาะในคำตอบที่เป็นการประเมินความรู้ความเข้าใจในวิธีการ หลักการ หากขาดความรู้ที่แท้จริง หรือเตรียมตัวมาน้อยอาจทำให้ไม่ผ่านได้ ดังนั้นควรควรซักซ้อมด้วยตนเองให้คล่องก่อนค่ะโดยเฉพาะถ้าได้ซักซ้อมกับอาจารย์ผู้ควบคุมวิจัยด้วยจะช่วยได้มาก
6. เข้าใจไม่ใช่ท่อง
ไม่ควรอ่านจากโน้ตย่อควรนำเสนอจากความเข้าใจพิธีการสอบก็จะเริ่มโดยที่ท่านประธานจะให้ผู้ทำวิทยานิพนธ์ หรือผู้รับทำวิจัยนำเสนองานวิจัย ขอให้ผู้ทำวิทยานิพนธ์ หรือผู้รับทำวิจัยคิดว่าการสอบปกป้องเค้าโครงวิจัยเป็นเหมือนการนำเสนอบทความทางวิชาการในที่ประชุมครั้งใหญ่ ถ้าเป็นไปได้ ไม่ควรอ่านจากใช้โน้ตย่อ ควรนำเสนอจากความเข้าใจ ซึ่งไม่น่าจะยาก เนื่องจากเป็นงานของ ผู้ทำวิทยานิพนธ์ หรือผู้รับทำวิจัยเอง
สรุป 6 เทคนิคเตรียมสอบเค้าโครงวิทยานิพนธ์ (Defense Thesis) หรือสอบ QE เชื่อว่าจะเป็นแนวทางให้ผู้ทำวิทยานิพนธ์หรือผู้รับทำวิจัยนำไปใช้เตรียมตัวก่อนการสอบเค้าโครงวิทยานิพนธ์ได้ และหากพบปัญหาเกี่ยวกับการทำวิทยานิพนธ์สามารถปรึกษา Thesis DD ฟรี ฟรี ได้เลย
Pingback: หาที่ปรึกษาดุษฎีนิพนธ์ขั้นเทพ - THESIS DD - by Dr.Kwang
Pingback: วางแผนทำวิทยานิพนธ์ - THESIS DD - by Dr.Kwang