1. การทบทวนวรรณกรรม

การทบทวนวรรณกรรมเป็นการศึกษาแนวคิด ทฤษฎี Journal  วิทยานิพนธ์ หนังสือ ตำรา thesis research เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เพื่อรวบความข้อมูลแล้วนำมาสรุปสังเคราะห์และเรียบเรียงผลงานวิจัย หรือการทำวิทยานิพนธ์ที่เกี่ยวกับองค์ความรู้การทำวิจัย หรือการทำวิทยานิพนธ์จากอดีตจนถึงปัจจุบัน โดยการทบทวนวรรณกรรม แนวคิด ทฤษฎี Journal  เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องนั้นจะทำให้เกิดความเข้าใจในหัวข้อที่การทำวิจัยหรือการทำวิทยานิพนธ์มากขึ้น รวมถึงผลการศึกษาวิจัยหรือการทำวิทยานิพนธ์ที่ผู้เชี่ยวชาญมีความรู้เฉพาะสาขาวิชาเหล่านั้นเคยทำการศึกษาวิจัยไว้ก่อนแล้วจะไม่เป็นประโยชน์ 

2. ชื่อเรื่องต้องไม่ซ้ำใคร

หากทำการศึกษาวิจัยหรือการทำวิทยานิพนธ์ ในสิ่งที่เป็นหลักฐานเชิงประจักษ์อยู่แล้วถึงผลของการวิจัย หรือการทำวิทยานิพนธ์นั้นๆ ซึ่งแก่นแท้ของการทำวิจัยหรือการทำวิทยานิพนธ์คือ การค้นคว้าหาคำตอบของคำถามที่ไม่เคยมีผู้ใดค้นพบ โดยเฉพาะผู้ที่ทำวิทยานิพนธ์ระดับปริญญาเอกจำเป็นจะต้องทำการทบทวนวรรณกรรม แนวคิด ทฤษฎี Journal เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องอย่างรอบคอบ เพื่อตรวจสอบหัวข้อว่าการวิจัยที่ยังไม่มีนักวิชาการคนใดเคยทำมาก่อน อีกทั้งต้องอธิบายว่าสาขาความรู้นั้นๆ จะได้ประโยชน์อย่างไรจากผลวิจัย หรือการทำวิทยานิพนธ์ดังกล่าวอย่างไรบ้าง และสิ่งสำคัญและถือว่าเป็นเรื่องที่หนักหนามากคือจำนวนงานวิจัย วิทยานิพนธ์ บทความ โดยเฉพาะ Journal  ต่างประเทศที่ต้องทำการรวบรวมและสังเคราะห์เป็นจำนวนมาก อาจเรียกว่ามหาศาลจนตกผลึก

3. ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเท่านั้น

ตามหลักวิชาการแล้ว ขั้นตอนการทบทวนวรรณกรรม เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง หรือ Literature Review คือการค้นหา สรุปย่อ และวิเคราะห์ผลการวิจัยในการทำวิทยานิพนธ์ของนักวิชาการท่านอ่านที่เคยได้ทำการศึกษาวิจัยและถูกตีพิมพ์ในหัวข้อที่เกี่ยวเนื่องกับหัวข้อวิทยานิพนธ์ที่ท่านกำลังศึกษาอยู่ โดยจะต้องให้ความสำคัญและสิ่งที่ต้องคำนึงถึงในการทบทวนวรรณกรรม แนวคิด ทฤษฎี Journal  เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องในการกำหนดปัญหาการวิจัย การกำหนดขอบเขตการวิจัย ของการทบทวนเอกสารที่เกี่ยวข้องให้ชัดเจน ว่าต้องการศึกษาตัวแปรหรือประเด็นอะไรบ้างเพื่อการศึกษาค้นคว้าเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องจะได้แคบลง

4. จากแหล่งที่น่าเชื่อถือ

การทบทวนวรรณกรรม เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง  ต้องค้นหาจากแหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ โดยพิจารณาแหล่งข้อมูลและสารสนเทศใดบ้างที่เกี่ยวข้องในสาขาวิชานั้น ๆ เช่น หนังสือ ตำรา วารสาร วิทยานิพนธ์งานวิจัยและแหล่งข้อมูลอื่น ๆ จากสถาบันอุดมศึกษาชั้นนำในประเทศไทย สำหรับ Journal  จะมีฐานข้อมูลขนาดใหญ่สำหรับสาขาวิชาต่าง ๆ เอาไว้มากมายหลายแห่งที่มีชื่อเสียงและมีความน่าเชื่อถือ เป็นที่ยอมรับในวงการวิชาการ ซึ่งการทบทวนวรรณกรรมควรเลือกวรรณกรรม แนวคิด ทฤษฎี Journal เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องที่จะศึกษาเฉพาะวรรณกรรมนั้น ๆ เพื่อประหยัดเวลาและควรเลือกวรรณกรรม แนวคิด ทฤษฎี Journal  เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องใหม่ ๆ เพื่อไม่ให้ข้อมูลล้าสมัยแต่ไม่ควรละเลยงานเก่าที่เป็นงานคุณภาพ และเป็นผลงานหรือนักวิชาการที่ได้รับการยอมรับในแต่ละสาขาวิชาโดยเฉพาะที่ใช้วิธีการวิเคราะห์อภิมานจะมีประโยชน์มากการวิเคราะห์อภิมานเป็นการวิจัยที่ใช้ข้อมูลแต่ละชิ้นด้วยว่ามีความถูกต้องน่าเชื่อถือมากน้อยเพียงใด

5. อย่าเอาง่าย เพราะทุกส่วนสำคัญ

การอ่านวรรณกรรม แนวคิด ทฤษฎี Journal  เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ผู้วิจัยที่กำลังทำวิทยานิพนธ์ไม่ควรอ่านเฉพาะบทคัดย่อบทสรุปหรือบทนำเท่านั้นแต่ควรอ่านวรรณกรรม แนวคิด ทฤษฎี Journal เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องทั้งหมดเพื่อให้เข้าใจชัดเจนจดรายละเอียดของการศึกษาแต่ละเรื่องทางวิธีการศึกษากลุ่มตัวอย่างที่ใช้ทฤษฎีข้อค้นพบรวมทั้งตัวบรรณานุกรมที่ผู้วิจัยที่กำลังทำวิทยานิพนธ์ใช้อ้างอิงด้วยบรรณานุกรมอาจให้ตัวอย่างงานอื่นๆ ที่น่าสนใจ

6. ปริมาณวรรณกรรมที่ต้องทบทวน

จำนวนหรือปริมาณการทบทวนวรรณกรรม แนวคิด ทฤษฎี Journal เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ไม่มีข้อกำหนดว่าผู้วิจัยที่กำลังทำวิทยานิพนธ์จะต้องทบทวนวรรณกรรม แนวคิด ทฤษฎี Journal เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกี่เรื่องการวิจัยที่เสนอในรูปแบบของบทความอาจทบทวนวรรณกรรม แนวคิด ทฤษฎี Journal เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องที่สำคัญไม่กี่เรื่องในขณะที่งานวิจัย หรือการทำวิทยานิพนธ์ที่เป็นวิทยานิพนธ์อาจต้องทบทวนวรรณกรรม แนวคิด ทฤษฎี Journal เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องอย่างให้มากเท่าที่จะทำได้และหากต้องการคุณภาพแบบล้น ๆ ท่านจำเป็นต้องทบทวนเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเป็นจำนวนมาก 

7. สรุปและรวบรวมวรรณกรรม

การเขียนรายงานทบทวนวรรณกรรม แนวคิด ทฤษฎี Journal เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ซึ่งผู้วิจัยที่กำลังทำวิทยานิพนธ์จะต้องเสนอผลของการทบทวนวรรณกรรม แนวคิด ทฤษฎี Journal เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องในงานวิจัยเอาไว้ เพื่อให้ผู้อ่านได้ทราบถึงความก้าวหน้าและประเด็นที่สำคัญในเรื่องที่ทำการศึกษาวิจัย หรือการทำวิทยานิพนธ์การทบทวนวรรณกรรม แนวคิด ทฤษฎี Journal เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องจะต้องอธิบายและสังเคราะห์งานของผู้อื่นได้อย่างเป็นระบบ

8. อย่าลืมบรรณานุกรม

การรวบรวบบรรณานุกรม ผู้วิจัยที่กำลังทำวิทยานิพนธ์ควรทำบรรณานุกรมของงานวิจัย แต่ละเรื่องไปพร้อมกับการอ่านงานวิจัยนั้น ๆ เพราะหากกลับมาทำบรรณานุกรมในภายหลัง จะทำให้เกิดปัญหาเป็นอย่าวมาก เช่น หาผลงานวิจัยในเรื่องหรือชิ้นนั้น ๆ ไม่พบหรืออาจจำไม่ได้ว่าข้อความที่อ้างอิงนำมาจากส่วนใดหรือจากงานชิ้นใดบ้างหรือนำมาจากหน้าใด  เป็นต้น