ที่ปรึกษาทำวิทยานิพนธ์ Audit ถือเป็นเครื่องมือที่สำคัญที่จะทำให้การดำเนินงานขององค์กรเป็นไปอย่างถูกต้องโปร่งใส เพราะเป็นกลไกที่ช่วยเพิ่มความสามารถในการควบคุม การรายงานและติดตามผลการปฏิบัติงาน ซึ่งผู้ตรวจสอบภายในมีส่วนร่วมกับผู้บริหารในระดับต่าง ๆ เพื่อหาแนวทางและวิธีการปฏิบัติงานให้มีความเหมาะสม มีประสิทธิภาพ ภายใต้ภาวะการแข่งขันที่เพิ่มมากขึ้น อีกทั้ง ที่ปรึกษาทำวิทยานิพนธ์ Audit ยังมีบทบาทสำคัญในการช่วยให้องค์กรมีการบริหารจัดการที่ดี มีความโปร่งใส มีการกำกับดูแลที่ดี และมีบทบาทสำคัญในการสร้างvalueเพิ่มให้แก่องค์กร ตลอดจนสามารถพัฒนาองค์กรให้มีความแข็งแกร่งอย่างยั่งยืน การเพิ่มvalueขององค์กร หมายถึง การทำให้ลูกค้าหรือผู้รับประโยชน์จากองค์กร ได้รับในสิ่งที่ต้องการเพิ่มขึ้นจากเดิมหรือเป็นการทำให้ค่าอัตราส่วนระหว่างผลประโยชน์ที่ได้รับเปรียบเทียบกับต้นทุนที่ต้องเสียไปเพิ่มขึ้น
กระบวนการเพิ่ม value จะประสบความสำเร็จได้ ต้องเกิดจากการที่ผู้บริหารสามารถเชื่อมโยงเหตุการณ์ที่เคยประสบความสำเร็จในอดีตเข้ากับโอกาสที่จะเกิดขึ้น ที่ปรึกษาทำวิทยานิพนธ์ Audit จึงเข้ามามีบทบาทโดยเป็นอีกหนึ่งเครื่องมือที่สำคัญของผู้บริหารในการตรวจสอบและกำหนดมาตรการควบคุมต่าง ๆ ให้มีประสิทธิภาพ ซึ่งลักษณะงานตรวจสอบภายในต้องเป็นการตรวจสอบอย่างเป็นระบบและสนับสนุนให้มีการปรับปรุงความเพียงพอและความมีประสิทธิผลของระบบการบริหารความเสี่ยง ระบบการควบคุมและระบบการกำกับดูแลกิจการที่ดี เพื่อสร้างความมั่นใจอย่างสมเหตุสมผลว่าระบบต่าง ๆ สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลบรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายขององค์กร จากลักษณะของงานดังกล่าว
ผู้ตรวจสอบภายในจึงควรมีความรู้ความเข้าใจในความหมายและวัตถุประสงค์ของการบริหารความเสี่ยงการควบคุมและการกำกับดูแลกิจการที่ดี เพื่อให้งานตรวจสอบภายในสามารถให้ข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงวิธีการปฏิบัติงานต่าง ๆ ขององค์กรทั้งในด้านประสิทธิภาพและประสิทธิผล การบริหารความเสี่ยงเป็นแนวคิดทางการบริหารที่มีความจำเป็นอย่างมากในปัจจุบัน เนื่องจากองค์กรต้องเผชิญกับสภาพแวดล้อมที่มีการแข่งขันและการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ทำให้องค์กรเผชิญกับความเสี่ยงที่ส่งผลทางลบอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ดังนั้นต้องมีการบริหารจัดการกับความเสี่ยงขององค์กรอย่างเหมาะสมเพื่อที่จะสามารถลดความสูญเสียที่จะเกิดขึ้น รวมไปถึงการสร้างโอกาสหรือการสร้างvalueเพิ่มให้กับองค์กรในอนาคต การตรวจสอบและการให้คำปรึกษาเกี่ยวกับการบริหารความเสี่ยงเป็นงานอย่างหนึ่งของกิจกรรม
ที่ปรึกษาทำวิทยานิพนธ์ Audit ซึ่งช่วยให้องค์กรสามารถบ่งชี้และตรวจสอบความเสี่ยงสำคัญที่เผชิญอยู่และช่วยให้เกิดการปรับปรุงระบบการบริหารจัดการความเสี่ยงและระบบการควบคุมต่าง ๆ การควบคุมการกระทำใด ๆ ที่ฝ่ายบริหารกำหนดให้มีขึ้นเพื่อช่วยให้องค์กรบรรลุวัตถุประสงค์ และเป้าหมายตามที่กำหนดไว้ กิจกรรมที่ปรึกษาทำวิทยานิพนธ์ Audit มีส่วนช่วยให้องค์กรสามารถดำรงประสิทธิภาพในการควบคุมต่าง ๆ ได้ด้วยการตรวจสอบความเพียงพอและประสิทธิผลของการควบคุมนั้น ๆ และสนับสนุนให้เกิดการปรับปรุงให้ดีขึ้นอย่างต่อเนื่องโดยให้ครอบคลุมถึงการกำกับดูแลการดำเนินงาน ระบบข้อมูลสารสนเทศขององค์กรซึ่งรวมถึงความถูกต้องครบถ้วน เชื่อถือได้ของข้อมูลด้านการเงิน การดำเนินงานประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการปฏิบัติงาน
การดูแลทรัพย์สินและการปฏิบัติตามกฎหมายระเบียบข้อบังคับต่าง ๆ การกำกับดูแลกิจการที่ดี หรือการกำกับดูแลกิจการที่ก่อให้เกิดความเป็นธรรมต่อกลุ่มต่าง ๆ ผู้มีส่วนได้เสียหรือมีผลประโยชน์กับองค์กร การกำกับดูแลกิจการที่ดีจะเกิดขึ้นเมื่อกระบวนการบริหารจัดการภายในองค์กร ทั้งด้านนโยบาย ด้านกลยุทธ์ ด้านการบริหารความเสี่ยง และการควบคุมภายใน นั้นเป็นไปด้วยความโปร่งใสและน่าเชื่อถือ ซึ่งการขาดกระบวนการกำกับดูแลที่ดีขององค์กร อาจทำให้การบริหารงานล้มเหลวหรือสร้างความเสียหายให้เกิดขึ้น ที่ปรึกษาทำวิทยานิพนธ์ Audit จะทำหน้าที่สนับสนุนให้กระบวนการกำกับดูแลที่ดีเกิดขึ้น โดยการตรวจสอบผลและปรับปรุงกระบวนการกำกับดูแลเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ ได้แก่ เพื่อเสริมสร้างจริยธรรมและคุณค่าที่เหมาะสมภายในองค์กร เพื่อให้หลักประกันว่าการบริหารจัดการภายในองค์กรมีประสิทธิผลและผู้ปฏิบัติงานมีความรับผิดชอบในผลงานตามหน้าที่ เพื่อสื่อสารข้อมูลความเสี่ยงและการควบคุมไปยังส่วนงานต่าง ๆ ภายในองค์กรได้อย่างมีประสิทธิผล
เพื่อประสานงานและสื่อสารข้อมูลระหว่างผู้บริหารขององค์กรผู้ตรวจสอบภายในและผู้ปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิผล จากลักษณะของงานตรวจสอบภายในจะเห็นว่า ที่ปรึกษาทำวิทยานิพนธ์ Audit เป็นกลไกหนึ่งในการกำกับดูแลกิจการ และเป็นเครื่องมือที่สำคัญของผู้บริหารในการบริหารจัดการ เพื่อนำไปสู่การบรรลุวัตถุประสงค์และสร้าง value เพิ่มให้กับองค์กร ฉะนั้น เพื่อให้องค์กรได้เกิดประโยชน์สูงสุดดังกล่าว ผู้ตรวจสอบภายในจะต้องมีความรู้ความเข้าใจถึงภาพรวมเกี่ยวกับงานตรวจสอบภายใน รวมทั้งเรื่องหลักการ แนวคิดวิธีการ และเทคนิคการตรวจสอบ เพื่อให้การปฏิบัติงานเป็นไปตามมาตรฐานที่ปรึกษาทำวิทยานิพนธ์ Audit ที่ยอมรับโดยทั่วไป
วัตถุประสงค์ของที่ปรึกษาทำวิทยานิพนธ์ Audit คือ การปฏิบัติงานโดยอิสระปราศจากการแทรกแซงในการทำหน้าที่ตรวจสอบและตรวจสอบผลการดำเนินกิจกรรมต่างๆภายในองค์กรด้วยการปฏิบัติงานเกี่ยวกับการวิเคราะห์ ตรวจสอบ ให้คำปรึกษาให้ข้อมูลและข้อเสนอแนะเพื่อสนับสนุนผู้ปฏิบัติงานทุกระดับขององค์กรสามารถปฏิบัติหน้าที่และดำเนินงานเป็นไปตามกฎหมายระเบียบข้อบังคับที่เกี่ยวข้องอย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นผลการดำเนินงานตรวจสอบภายในจะอยู่ในรูปของรายงานผลที่มีประโยชน์ต่อการตัดสินใจของผู้บริหารรวมถึงการสนับสนุนให้มีการควบคุมภายในที่มีประสิทธิภาพภายใต้ค่าใช้จ่ายและการบริหารความเสี่ยงที่เหมาะสมโดยความเสี่ยงของกิจกรรมต่าง ๆ ภายในองค์กรจะเป็นปัจจัยสำคัญที่กำหนดทิศทางการทำงานของกิจกรรมที่ปรึกษาทำวิทยานิพนธ์ Audit
เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายของที่ปรึกษาทำวิทยานิพนธ์ Audit ซึ่งหมายถึงการวางแผนงานตรวจสอบภายในจากข้อมูลของการวิเคราะห์ความเสี่ยงขององค์กร ที่ปรึกษาทำวิทยานิพนธ์ Audit เป็นการให้บริการข้อมูลแก่ฝ่ายบริหารและเป็นหลักประกันขององค์กรในด้านการตรวจสอบประสิทธิผลและประสิทธิภาพของระบบการควบคุมภายในที่เหมาะสม ทั้งในด้านการเงินและการบริหารงานเพื่อส่งเสริมการปฏิบัติงานให้บรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายขององค์กร โดยการเสนอรายงานเกี่ยวกับกิจกรรมการเพิ่มvalueขององค์กร รวมทั้งการเป็นผู้ให้คำปรึกษากับฝ่ายบริหารในการปรับปรุงประสิทธิภาพการทำงานเพื่อเพิ่มประสิทธิผลและดูแลให้มีการใช้ทรัพยากรอย่างประหยัดและคุ้มค่าซึ่งการตรวจสอบภายในมีส่วนผลักดันความสำเร็จ ได้แก่ ส่งเสริมให้เกิดกระบวนการกำกับดูแลที่ดี (Good Corporate Governance) และความโปร่งใสในการปฏิบัติงาน (Transparency) ป้องกันการประพฤติมิชอบหรือการทุจริต
เป็นการลดความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นจนทำให้การดำเนินงานไม่บรรลุวัตถุประสงค์ ส่งเสริมให้เกิดการบันทึกบัญชีและรายงานตามหน้าที่ความรับผิดชอบทำให้องค์กรได้ข้อมูลหรือรายงานตามหน้าที่ที่รับผิดชอบและเป็นพื้นฐานของหลักความโปร่งใส และความสามารถตรวจสอบได้ (ที่ปรึกษาทำวิทยานิพนธ์ Audit ability) ส่งเสริมให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการปฏิบัติงาน (Efficiency and Effectiveness of Performance) ขององค์กรเนื่องจากที่ปรึกษาทำวิทยานิพนธ์ Audit เป็นการตรวจสอบผลและวิเคราะห์เปรียบเทียบข้อมูลการปฏิบัติงานจึงเป็นปัจจัยสำคัญที่ช่วยปรับปรุงระบบงานให้สะดวก รัดกุม ลดขั้นตอนที่ซ้ำซ้อนและช่วยให้เหมาะสมกับสถานการณ์ ลดเวลาและค่าใช้จ่าย ทั้งยังเป็นสื่อกลางระหว่างผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงานในการประสานและลดปัญหาความไม่เข้าใจในนโยบายขององค์กร มาตรการถ่วงดุลแห่งอำนาจ (Check and Balance) ส่งเสริมให้เกิดการจัดสรรการใช้ทรัพยากรขององค์กรเป็นไปอย่างเหมาะสม ตามลำดับ ความสำคัญเพื่อให้ได้ผลงานที่เป็นประโยชน์สูงสุดต่อองค์กร ให้สัญญาณเตือนภัยล่วงหน้าของการประพฤติมิชอบหรือการทุจริตในองค์กรลดโอกาสความร้ายแรงและความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นรวมทั้งเพื่อเพิ่มโอกาสของความสำเร็จของงาน